บทความ

โบสถ์เซนต์พอล “St. Paul’s Church ” กับคุณค่าในอดีตของมะละกา

รูปภาพ
                                               ที่มา : http://www.malaysiafanclub.com/st-pauls-church/            โบสถ์เซ็นต์ปอล ถูกสร้างโดยชาวโปรตุเกส เมื่อ 500 ปี มาแล้ว โบสถ์แห่งนี้ตั้งอยู่บนเนินเขาเซ็นต์ปอล ( St. Paul Hill)   เดิมเป็นโบสถ์ขนาดเล็กสร้างโดยตั้งชื่อโบสถ์ว่า Our Lady of The Hill สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2064 ต่อมาถูกเปลี่ยนชื่อเป็นโบสถ์ Annunciation และ Saint Paul ตามลำดับ โบสถ์ได้รับการขยายให้มีขนาดใหญ่ขึ้นอย่างต่อเนื่อง สร้างขึ้นเพื่อ เป็นโบสถ์ที่ฝั่งศพของนักบุญฟรานซิส ซาเวียร์ ( St. Francis Xavier) ต่อมาเมื่อชาวดัชต์ได้เข้ายึดครองมะละกา ได้เปลี่ยนเป็นโบสถ์ในนิกายโปรเทสแตนท์ และใช้โบสถ์แห่งนี้ต่อมาจนกระทั่งชาวดัชต์ได้สร้างโบสถ์ของตนเองขึ้นใหม่ที่ด้านล่างเชิงเขา คือ   “Christ Church Melaka” โบสถ์แดง แห่งมะละกา ที่สร้างโดยชาวดัตช์ ที่มา : http://www.malaysiafanclub.com/st-pauls-church/           ลักษณะทางศิลปกรรม อาคารสร้างด้วยหินศิลาแลง เป็นอาคารทรงโรงที่มีหน้าจั่วแบบคลาสสิกและมีโรสวิโดว์ทางด้านหน้าอย่างเรียบง่าย ภายในอาคารก็ดูค่อยข้างเรียบง่ายเช่นเดียวกั

โบสถ์คริสต์ (Chirst Church) ศิลปะจากชาติตะวันตก ในมะละกา

รูปภาพ
         โบสถ์คริสต์เซ็นต์ปอลสร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1741 โดยชาวดัตช์ เพื่อใช้เป็นอนุสรณ์ในวาระการปกครองมะละกาครบ 1 ศตวรรษ โบสถ์แห่งนี้ใช้เวลาสร้างกว่า 12 ปีถึงจะแล้วเสร็จใน ค.ศ. 1753 โบสถ์แห่งนี้เดิมเป็นโบสถ์นิกาย Protestant ต่อมาเมื่ออังกฤษเข้ามาปกครองมะละกาจึงเปลี่ยนเป็นโบสถ์นิการ Anglican โดยอุทิศให้ Daniel Wilson ซึ่งตัวโบสถ์เป็นสีหมากสุก สร้างขึ้นในรูปแบบ Dutch Colonial ซึ่งเป็นที่นิยมในศตวรรษที่ 18 โบสถ์คริสต์ ( Chirst Church) ตั้งอยู่บริเวณจัตรัสแดง ภาพจาก : http://humantumbleweed.com/?p=1281          โบสถ์แห่งนี้นั้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ส่วนฐานทำจากศิลาแลงหาได้ในท้องถิ่น พื้นเป็นหินแกรนิตจากจีน ส่วนผนังก่อด้วยอิฐที่มาจากเนเธอร์แลนด์ ฉาบด้วยกระเบื้องดัตช์ ส่วนเสาโบสถ์สร้างจากไม้ยาว 15 เมตร นำมาจากบอร์เนียว คานหลังคาทำจากไม้ท่อนเดียว ส่วนหลังคาทรงจั่วมุงด้วยกระเบื้องดัตช์ ส่วนหน้าบันเป็นทรงโค้งครึ่งวงกลม เหนือหน้าบันมีหอระฆังขนาดเล็ก ภายในมีระฆังจารึกตัวเลขปีที่สร้างระฆังใน ค.ศ 1698 ซึ่งเป็นปีก่อนการสร้างโบสถ์แห่งนี้ หน้าบันด้านหน้าเป็นปูนปั้นรูปกางเขนสีขาว ด้านล่างมีตั

ศิลปะ “ ป้อมปราการ เซ็นต์จอห์น” (St. John's Fort) กับความงามในปัจจุบัน

รูปภาพ
                                       ที่มา :   http://www.malacca.ws/attractions/st-john-fort.htm           ป้อมปราการเซ็นต์จอห์นสร้างโดยชาวดัตช์ในคริสต์ศตวรรษที่ 18 ตั้งอยู่บนเนินเขาเซ็นต์ปอล สร้างขึ้นเพื่อป้องกันการรุกรานของศัตรู ซึ่งเอกลักษณ์ที่โดนเด่นของป้อมปราการแห่งนี้คือ ปืนใหญ่ที่หันหน้าไปยังแผ่นดิน เนื่องจากในสมัยนั้นการโจมตีเมืองมะละกาจะมาทางบกมากกว่าทางทะเล   ที่มา : https://media-cdn.tripadvisor.com/media/photo-o/0f/96/32/54/a-corner-of-the-small.jp              เดิมป้อมปราการแห่งนี้เคยเป็นโบสถ์ของชาวโปรตุเกสที่สร้างขึ้นเพื่ออุทิศให้แก่นักบุญเซนต์จอห์น หลังจากนั้นได้ถูกทำลายโดยชาวดัตช์ที่ได้เข้ามาครอบครองดินแดนมะละกาแทนที่โปรุเกส               ที่มา : https://media-cdn.tripadvisor.com/media/photo-o/0f/96/32/54/a-corner-of-the-small.jpg           ปัจจุบันป้อมปราการเซ็นต์จอห์นได้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวสำคัญของมะละกา เพราะทัศนียภาพจากเนินเขาที่ตั้งป้อมปราการแห่งนี้นั้นมีความสวยงามและยังเป็นจุดชมพระอาทิตย์ตกได้อย่างงดงามอีกด้วย รวมถึงมีภูมิทัศน์ท

ย้อนรอย "Stadthuys" สถาปัตยกรรมขึ้นชื่อในมะละกา

รูปภาพ
           ในสมัยที่ดัตช์ปกครองมะละกา ได้สร้างอาคารที่เป็นศิลปะเแบบดัตช์เอาไว้ทั่วเมือง อาคารที่สะท้อนให้เห็นถึงผลงานสถาปัตยกรรมของดัตช์ ซึ่งได้เชื่อว่าแก่แก่ที่สุดในเอเชียอยู่ที่มะละกา คือ " Stadthuys" ซึ่งเป็นหลักฐานชิ้นสำคัญที่ชาวดัตช์ได้สร้างทิ้งไว้ให้กับชาวมะละกา                                          อาคารสตัดธิวท์ ( Stadhuys) อาคารดัตช์เก่าแก่ที่สุดในมาเลเซีย                                                 ภาพจาก : http://www.panoramio.com/photo/31535840           อาคาร Stadthuys ตั้งอยู่บนถนนลักษมานา สร้างขึ้นในปี ค.ศ. 1650 เดิมเคยเป็นศูนย์กลางชุมชนดัตช์ในสมัยปกครองมะละกา ซึ่งหลักๆใช้เป็นที่พักของข้าหลวงและเจ้าหน้าที่ของดัตช์ โดยสิ่งที่หลงเหลืออยู่ในอาคาร Stadthuys ก็คือ ประตูไ ม้หนา กำแพงหนาสีแดง และบานพับเหล็ก   อาคารแห่งนี้มีเอกลักษณ์โด่ดเด่นตรงที่ตัวอาคารเป็นสีแดงอิฐ ซึ่งอาคารแห่งนี้ทำจากไม้ ที่มีความละเอียดในการสร้างและได้หลอมรวมเอาศิลปะในรูปแบบสถาปัตยกรรมตะวันตกเข้ามาทำการก่อสร้าง จึงทำให้อาคารแห่งนี้มีความงดงามเป็นอย่างมาก         ปัจจุบันอาคา

ตามรอยศิลปะ "500 ปี โปรตุเกส" ณ ป้อมปราการ เอ ฟาโมซา (A Famosa) ในมะละกา

รูปภาพ
Written by พีรพล  จ่าเคน ที่มา   :    http://www.malaysiafanclub.com/afamosa/                         มะละกา เป็นเมืองที่บอกเล่าเรื่องราวทางอดีตกว่า  500  ปี เมื่อครั้งที่ช่องแคบมะละกาเป็นศูนย์กลางการค้า ทำให้ให้ดินแดนแถบนี้ได้รับวัฒนธรรมตะวันตกและตะวันออกเข้าด้วยกัน โดยเริ่มจากที่มะละกาตกเป็นอาณานิคมของโปรตุเกส จากนั้นจึงได้เข้ามาปกครองมะละกา ส่งผลให้โปรตุเกสได้สร้างศิลปะในรูปแบบสถาปัตยกรรมไว้ได้อย่างมากมายและเป็นเอกลักษณ์ เช่น   ป้อมปราการ เอ ฟาโมซา ( A Famosa)  ที่ ได้รวมเอากลิ่นอายของยุโรปและเอเชียผสมผสานเข้าด้วยกันไว้ได้อย่างงดงาม    ที่มา   :   http://www.malaysiafanclub.com/afamosa/               เริ่มต้นเมื่อสมัยที่โปรตุเกสเป็นชาติแรกที่เข้ามายึดครองมะละกาในปี 1511-1641    ส่งผลให้โปรตุเกสได้สร้างศิลปะในรูปแบบสถาปัตยกรรมไว้อย่างมากมาย โดยซากโปราณสถานที่ยังคงเหลือและที่โดดเด่นที่สุดในมะละกาคือ    ป้อมปราการ เอ ฟาโมซา ( A Famosa)  ซึ่งตั้งอยู่บนเนินเขา   ( Fort A Famosa)  ในมะละกา ป้อมปราการแห่งนี้ ถูกออกแบบตามสถาปัตยกรรมยุโรป   ควบคุมการก่อสร้างโดย นายพล